วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2562

บันทึกการเรียนครั้งที่ 1
วันศุกร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ 2562

การเรียนการสอนในวันนี้อาจารย์ได้ บอกเกี่ยวกับรายละเอียดที่เราจะเรียนในเทอมนี้เกี่ยวกับวิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย ส่วนหลักๆเลยที่อาจารย์บอกก็คือจะทำเกี่ยวกับ Box เราก็มีการจดคำศัพท์ภาษาอังกฤษวันละ 10 คำเราก็ประเมินอาจารย์ในห้องเรียนแล้วหลังจากนั้นอาจารย์ก็ได้พูดถึงรายละเอียดของบล็อคที่สั่งไปเมื่ออาทิตย์ที่แล้วเราก็เปิด ดูของแต่ละคนในห้องว่ามีใครต้องแก้ไขอย่างไรแล้วอาจารย์ก็ได้พูดอธิบายว่าควรไปเติมตรงไหนบ้างควรจะต้องนิ่งหัวเรื่องอย่างไรมีปฏิทินมีนาฬิกามีเชื่อมโยงมีการประเมินอาจารย์ก็เช็คของเพื่อนแต่ละคนแล้วก็บอกว่าของคนไหนต้องเติมอะไรต้องเพิ่มตรงไหน


หลังจากนั้นอาจารย์ได้ให้ กระดาษคนละหนึ่งแผ่นเพื่อจะทำ mind mapping แต่ก่อนที่จะลงมือทำอาจารย์ได้ให้โจทย์เรามาว่าจะทำยังไงให้กระดาษอยู่ตรงกลางโดยวัดจากค่าสายตาเสร็จแล้วอาจารย์ก็ให้ลองภาพดูว่าการที่เรา กระค่าสายตามันตรงกับที่กลับที่พับไว้ไหม หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้คิดว่าในห้องเรียนเนี่ยมีอะไรที่เป็นเกี่ยวกับคณิตศาสตร์บ้างให้บอกคนละหนึ่งอย่าง เพื่อนก็บอกกันเช่น แอร์ กระดาษ หนังสือ สมุด โต๊ะทประตู รั่วลูกกง แล้วอาจารย์ก็บอกว่าที่เราพูดมาทั้งหมดคือคณิตศาสตร์แล้วก็คณิตศาสตร์เนี่ยอยู่ในชีวิตประจำวันของเราอยู่แล้ว

อาจารย์ก็ได้พูดเกี่ยวกับเนื้อหาว่าเด็กใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้ามากที่สุดเด็กมีพฤติกรรมที่ต้องการลงมือกระทำวัตถุต่างๆ
1. เก็บข้อมูล
2. สมอง
3. รับรู้/ ซึมซับ



เดี๋ยวอาจารย์ก็ยกตัวอย่างขึ้นมาว่าตอนเด็กเด็กแม่ซื้อตุ๊กตาแมวให้แล้วเด็กเห็นว่าน่ารักดีก็เลยซึมซับจากตรงนั้นแล้วเด็กไปเจอแมวที่บ้านยายแล้วโดนแมวข่วนเกิดการรับรู้เป็นความรู้ใหม่ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมคือการเรียนรู้เพื่อการอยู่รอด

หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้ไปค้นคว้าหาต่อว่าคณิตศาสตร์แบ่งออกไปเป็นยังไงเราก็การจัดประสบการณ์น่ะจัยังไงให้เรียนรู้ยังไง


ประเมิน/ บรรยากาศในห้องเรียน
บรรยากาศในห้องเย็นสบายแต่จะมีตอนนั่งที่เวลาทำงานจะนั่งลำบากเพราะว่าเสียงกับพื้นมันจะไม่ถนัด ประเมินอาจารย์อาจารย์พูดในเนื้อหาเป็นคำถามได้เข้าใจดีอาจจะดูเรื่องมากมากเกินไปแต่ก็ทำให้เราจำมากขึ้นเรียนรู้ไว


คำศัพท์
1. Early childhood เด็กปฐมวัย
2. Experience arrangement การจัดประสบการณ์
3. Mathematics คณิตศาสตร์
4. Development พัฒนาการ
5. Diagram แผนผัง
6. Learning เรียนรู้
7. Experience ประสบการณ์
8. Shape รูปทรง
9. Collect information เก็บข้อมูล
10. Absord ซึมซับ

วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2562

วันศุกร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ.2562

ตัวอย่างการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
สรุปจากที่ได้ไปหาข้อมูลมา จากเว็บ : https://youtu.be/KNt_dgQEVTw



สื่อการสอนคณิตศาสตร์การเรียนรู้คณิตศาสตร์ผ่านการเล่น  Mathematical Development
เริ่มทดลองกับเด็ก 3-7 ปี  เริ่มจากการปรับพื้นฐานอนุบาลและเตรียมอนุบาลโดยหลักการแบ่งเป็นสองส่วนคือมีส่วนที่อยู่ในห้องเรียนโดยการแบ่งเป็นสองมุมก็คือมุมกระดานกับมุมกิจกรรมทางคณิตศาสตร การแสดงมีการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์หลากหลายรูปแบบแล้วก็มีการเรียนรู้กลางแจ้งส่วนสำคัญเลยคือ เขาจะให้นักเรียนเลือกกิจกรรมอะไรก็ได้เช่น ในกลางแจ้งหรือในห้องเรียนก็ได้ก็ปล่อยเด็กเป็นอิสระกิจกรรมส่วนมากมีมากมายและเปลี่ยนแปลงกันไปเรื่อยเรื่อยแต่ละวันมีเกมส์ต่างๆ
-มีกิจกรรมปาเป้าใส่ตัวเลขก็จะให้เด็กไงยืนอยู่แล้วก็ปาเป้าใส่ไปที่ตัวเลขแล้วบอกเด็กว่าสิ่งที่รอปาไปเนี่ยคือเลขอะไรแล้วก็พูดตามเราเราก็สอนเขา
-เกมโดมิโน่ตัวเลขโดยกิจกรรมนี้อาจารย์ก็จะให้แบ่งกลุ่มโดยการแบ่งกลุ่มเนี่ยเป็นการเข้าสังคมแล้วให้เด็กได้รู้จักการแก้ปัญหาเป็นกลุ่มรู้จักการแก้ปัญหาเป็นกลุ่มอยู่ร่วมกันทางสังคมแถมยังได้ความรู้เกี่ยวกับตัวเลขต่อตัวเลขกัน
-กิจกรรมรูปทรงต่างๆคุณครูก็จะมีลูกส่งมาให้แล้วก็คุณครูก็จะสอนสอนเสร็จกูก็จะถามว่ารูปทรงอันนี้คือรูปส่งอะไรเช่นวงกลมสามเหลี่ยมสี่เหลี่ยม

การนำไปใช้  : การนำไปใช้จากที่ศึกษาดูแล้วก็คือได้แนวคิดเกี่ยวกับการทำเกมไม่ให้น่าเบื่อมากจนเกินไปมีเกณฑ์ที่หลากหลายเราก็เลือกเกมส์ที่เด็กสนใจปล่อยให้เด็กเป็นอิสระโดยเราก็เลียนแบบการสอนของเค้ามาเด็กชอบแบบไหนแล้วกว่าจะมาปรับปรุงหรือพัฒนาไปได้ถือว่าเป็นประสบการณ์แล้วก็ให้ความเรียนรู้กับเรามากๆ มีหลายแนวคิดให้เราปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้เช่นการเลือกเกมเลือกเกมยังไงให้เด็กสนใจเด็กชอบอยู่กลางแจ้งมากกว่าอยู่ในห้องเรียนเราก็จะรู้แนวการปรับให้เด็กไม่น่าเบื่อเวลาเราสอน




วันพฤหัสบดีที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2562

วันศุกร์ที่ 11 มกราคม 2562
สื่อคณิตศาสตร์  สอนบวกเลขแบบง่ายๆ ทอดลูกเต๋า ติดปอมๆ บนต้นไม้


อุปกรณ์
  • กระดาษสีเขียวและสีน้ำตาล
  • ปอมๆสีสดใส
  • กรรไกร
  • กาว
  • สีเมจิก
  • ลูกเต๋า 2 ลูก
  • คัตเตอร์  

วิธีทำ
ตัดกระดาษสีเขียวเป็นใบไม้ด้านบน ตัดกระดาษสีน้ำตาลเป็นลำต้น
2.      นำกระดาษทั้งสองส่วน มาติดกันด้วยกาว
3.      จากนั้นเจาะรูที่ลำต้น รู สำหรับวางลูกเต๋า
4.      เจาะรู ด้านล่างต้นไม้ ด้วยคัตเตอร์
5.      ตัดกระดาษสีเขียว เป็นเส้น สอดเข้าไปในด้านล่างต้นไม้ (ข้อ 4)
6.      เขียนตัวเลข 1–12


วิธีการเล่น
 1. ทอยลูกเต๋าทั้งสองลูก จากนั้น นำไปวางบนต้นไม้ที่เจาะรูไว้
2.   ลูกเต๋าลูกแรก แทนสีแดง นำปอมๆสีแดงวางบนต้นไม้
3.   ลูกเต๋าลูกที่ แทนสีเหลือง นำปอมๆสีเหลืองวางบนต้นไม้
4.   เลื่อนคำตอบ จากด้านล่าง (กระดาษที่เขียนตัวเลขเอาไว้) 


สิ่งที่ได้รับ : สิ่งที่ได้รับจากการศึกษาสื่อทางคณิตศาสตร์ก็ได้เลือก เลขง่ายโดยการทอยลูกเต๋าโดยมีฐานเป็นต้นไม้ตรงนี้เราก็ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการทำสือแปลกใหม่จากการให้เด็กอยู่แค่ในกระดานก็เปลี่ยนมาเป็นการเล่นการทำกิจกรรมโดยสอดแทรกคณิตศาสตร์หรือความรู้ลงไปแบบเล่นเด็กจะได้ดูไม่น่าเบื่อจนเกินไปเราก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งที่ทำให้เราได้ มีแนวคิดอะไรแปลกแปลกใหม่ใหม่ไปสอนในอนาคตข้างหน้าได้

วันศุกร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ.2562

วิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์โดยใช้นิทานคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลวิศิษฐ์อำ นวยศิลป์ จังหวัดบึงกาฬ : กระบวนการวิจัยปฏิบัติการรูปแบบวงจรลำ ดับเวลา
ผู้เสนอวิจัย : นิสา พนม
สรุปวิจัย
การใช้กระบวนการวิจัยปฎิบัติตามแนวของเจมส์ แมคเคอร์ ซึ่งประกอบด้วยกันแปดขั้นตอนเพื่อพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์เรื่องการนับการรู้ค่าตัวเลขการจับคู่การเปรียบเทียบและการเรียงลำดับที่มีประสิทธิภาพกระบวนการที่เริ่มต้นด้วยการวิเคราะห์จากสภาพปัญหาที่มีอยู่แล้วเราก็ต้องเอาไปปรับปรุงแก้ไขอย่างละเอียดจะทำการพัฒนาไปทีละขั้นตอนอย่างต่อเนื่องถ้าไม่เห็นว่าจะต้องแก้ไขได้ชัดเจนและทำให้การพัฒนานั้นประสบความสำเร็จ การวิเคราะห์สภาพปัญหาถือว่าเป็นจุดสำคัญมากที่จะทำให้การระบุปัญหาที่จะทำการภาษาถูกต้องตามสาเหตุเกิดการหาปัญหาที่แท้จริงโดยดำเนินการโดยการปรับปรุงแก้ไขพูดคุยหรือสัมภาษณ์ผู้เรียนผู้เกี่ยวข้อง
2. การศึกษาผลกระบวนการวิจัยของชั้นอนุบาลที่หนึ่งได้กำหนดกิจกรรมพนาเป็นสามขั้นตอนคือการนำเสนอเนื้อหาการฝึกปฏิบัติและการประเมินผลและใช้ร่วมกับกิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมการพนาจะนำเสนอไปสู่เนื้อหาเกี่ยวกับการนับการรู้ค่าตัวเลขการจับคู่การเปรียบเทียบการเรียงลำดับลำดับเนื้อหาจากง่ายไปยากและใช้นิทานทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์โดยใช้แบบฝึกเตรียมความพร้อมประกอบการศึกษากิจกรรมก็จะสอดคล้องเกี่ยวกับผลงานวิจัยคือการเล่านิทาน เกี่ยวกับคณิตศาสตร์
วันศุกร์ที่ 11 มกราคม 2562
บทความคณิตศาสตร์
สรุปบทความคณิตศาสตร์กับเด็กประถมศึกษา
เด็ก ๆ มีธรรมชาติ 3 ประการ คือความกระหายใคร่รู้   ความคิดสร้างสรรค์ และ ความสามารถเฉพาะตัวของเด็กแต่ละคน ธรรมชาติทั้งสามนี้มีในตัวเด็กมากน้อยไม่เท่ากัน แต่ก็ถือว่าเป็นรากฐานการเรียนรู้ของมนุษย์ ส่วนคุณสมบัติอื่นที่ผู้สอนต้องช่วยพัฒนาเด็กก็คือช่วยให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะหรือความชำนาญในการนำความรู้ไปใช้ได้เป็นอย่างดี
การสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษานั้นเป็นที่ทราบกันดีว่าเป็นเรื่องของการจัดกิจกรรมให้เด็กมีประสบการณ์จากสื่อต่าง ๆ ให้เด็กทำงานร่วมกัน เพื่อเสริมให้เด็กเกิดความรู้ ความเข้าใจ เพื่อให้เกิดวิสัยทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ฝึกการสังเกต จัดประเภทจำแนกหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวันเพื่อให้เป็นผู้มีเหตุผล เกิดความคิดสร้างสรรค์ และเตรียมให้เด็กพร้อม ที่จะเป็นเยาวชนที่มีคุณค่าในยุคข้อมูลข่าวสารที่ไร้พรมแดน ซึ่งจะเห็นได้ว่า คณิตศาสตร์ช่วยสนับสนุนธรรมชาติในตัวเด็กและคุณสมบัติต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นได้เป็นอย่างดี

สำหรับการจัดการศึกษาในคริสต์ศตวรรษที่ 21 นี้ มุ่งพัฒนาคนให้เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในยุคโลกาภิวัตน์ซึ่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีรุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว เด็กจะต้องได้รับการอบรมสั่งสอนจากผู้ที่มีความรู้ความเข้าใจทางคณิตศาสตร์ ได้รับการพัฒนาความสามารถถึงขั้นเรียนรู้ในการแก้ปัญหามีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์เพียงพอที่จะนำไปใช้ในการดำรงชีวิต คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น ใฝ่หาความรู้ และสามารถแสดงความคิดได้อย่างชัดเจน ถ้าเด็กได้รับการพัฒนาความสามารถอย่างสม่ำเสมอจนถึงขั้นเรียนรู้แก้ปัญหา เป็นต้นว่าใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) คณิตศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพช่วยสอนซ่อมเสริมเพียงวันละ10 นาที จะช่วยพัฒนาให้เด็กรู้จักตัดสินใจในการใช้ยุทธวิธีแก้ปัญหา ซึ่งเป็นการพัฒนาความคิด ภาษาตลอดจนอารมณ์และสังคมของเด็กอีกด้วย ผู้สอนมีบทบาทในการป้อนคำถาม สาธิตให้เด็กคิดโปรแกรมกราฟิกที่เป็นลายเส้น จะช่วยพัฒนาความคิดด้านเรขาคณิต ด้านความคิดสร้างสรรค์ จนถึงขั้นเป็นนักออกแบบรุ่นจิ๋วได้ แต่จะต้องระวังมิให้โปรแกรมดังกล่าวยุ่งยากซับซ้อน ซึ่งจะเป็นการสร้างความกดดัน และทำให้เด็กเกิดความเครียดมากกว่าที่จะเสริมสร้างสติปัญญาเพราะความเครียดเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสติปัญญา

อย่างไรก็ตาม ผู้สอนยังมีบทบาทที่สำคัญในการช่วยให้เด็กคิดเพื่อไปสู่การแสวงหาแนวทางเพื่อการแก้ปัญหา และต้องไม่ลืมทบทวน ฝึกฝนให้เข้าใจ จำได้และนำความรู้ไปใช้ได้อย่างคล่องแคล่วไม่ลืมที่จะจัดกิจกรรมให้ผ่อนคลายความเครียด ได้แก่ การเล่น การออกกำลังกายด้วยความร่าเริงแจ่มใส ซึ่งจะช่วยให้เซลล์สมองและใยประสาทเจริญงอกงาม และพัฒนาสติปัญญาเป็นอย่างดี

แม้โลกเราปัจจุบันอยู่ในยุดเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นโลกาภิวัตน์และวิทยาศาสตร์ก้าวหน้าไปอย่างไม่หยุดยั้ง แต่หลักการของคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษาไม่เคยเปลี่ยน ผู้สอนจะต้องพัฒนาให้เด็กแต่ละคน โดยคำนึงถึงธรรมชาติและคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้นของเด็ก ให้เด็กเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง

เว็บไซต์ที่หามา https://sites.google.com/site/phichamonsite/khnitsastr-kab-dek-prathm-suksa 





บันทึกการเรียนครั้งที่ 13 วันที่ 5 มีนาคม 2562 วันนี้เป็นวันเค้าเรียนวันสุดท้ายอาจารย์ก็ปิดคอสแล้ววันนี้อาจารย์ก็ได้สอนในเนื้อหาที่เรียนมา...